เมนู

ปัญหาวาระ


อนุโลมนัย


1. เหตุปัจจัย


[2142] 1. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณรรม ด้วยอำนาจของเหตปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุต-
ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ เหตุทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัย
แก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.
[2143] 2. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ เหตุทั้งหลายที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ

2. อารัมมณปัจจัย


[2144] 1. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลพิจารณาวิญญาณัญจายตนะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม,
พิจารณาเนวสัญญายตนะสัญญายตนะ พิจารณาทิพยจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม-

ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม พิจารณาทิพยโสตธาตุ ฯลฯ พิจารณาอิทธิวิธญาณ
ฯลฯ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม,
พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว ย่อมรู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน
ฯลฯ.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตา-
รัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อม
เกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
[2145] 2. อัชฌัตตารัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลอื่นพิจารณาวิญญาณัญญจายตนะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม
ฯลฯ พิจารณาเนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯลฯ บุคคลอื่นพิจารณาทิพยจักษุ ที่
เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม พิจารณาทิพโสตธาตุ ฯลฯ-
พิจารณาอิทธิวิธญาณ ฯลฯ พิจารณาปุพเพนิวาสานสสติญาณ ฯลฯ พิจารณา
อนาคตังสญาณ.

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่
อนาคตคังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[2146] 3. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลอื่นพิจารณาทิพยจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นพหิทธา-
รัมมณธรรม ทิพโสตธาตุ ฯลฯ อิทธิวิธญาณ ฯลฯ เจโตปริยญาณ ฯลฯ ปุพเพ-
นิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ.
บุคคลอื่น1พิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็น
พหิทธารัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็น
พหิทธารัมมณธรรม ด้วยอำนาจของเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่
อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
1. ม. ไม่มีบุคคลอื่น

[2147] พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระทำอุโบสถกรรมแล้ว พิจารณา
กุศลกรรมนั้น.
บุคคลพิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.
บุคคลออกจากฌาน พิจารณาฌาน.
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล
พิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ ย่อมรู้กิเลสทั้งหลายที่
เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ.
บุคคลพิจารณาทิพยจักษุที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณ-
ธรรม พิจารณาทิพโสตธาตุ ฯลฯ พิจารณาอิทธิวิธญาณ ฯลฯ พิจารณาเจโต-
ปริยญาณ ฯลฯ พิจารณาปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯลฯ พิจารณายถากัมมปคญาณ
ฯลฯ พิจารณาอนาคตังสญาณ ฯลฯ.
บุคคลพิจารณาเป็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นพหิทธา-
รัมมณธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง
เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ฯลฯ โทมนัส ย่อม
เกิดขึ้น.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็น
ปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่
อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

3. อธิปติปัจจัย


[2148] 1. อัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลกระทำวิญญาณัญจายตนะ ที่เป็นอัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัต-
ตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว พิจารณา กระทำเนวสัญญานา
สัญญายตนะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ กระทำทิพยจักษุที่เป็นอัชฌัตต-
ธรรมซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น, ฯลฯ กระ-
ทำทิพโสตธาตุ ฯลฯ กระทำอิทธิวิญญาณ ฯลฯ กระทำปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ฯลฯ กระทำยถากัมมูปคญาณให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ฯลฯ.
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัชฌัตตธรรม ซึ่งเป็นอัชฌัตตารัมมณธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น
ครั้นกระทำขันธ์นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะที่เป็นอัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ฯลฯ ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นอัชฌัตตารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์
ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
[2149] 2. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่พหิทธารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย